Tuesday, June 30, 2009

Pang Doreme and Seedor Doremon, our elephants play together in Sublangka forest. พังโดเรมีและสีดอโดเรมอนเล่นกันนัวเนียในป่าซับลังกา

Mother and Son Elephant in Sublangka Forest

When Pang Lampang found Plai Chalard ,her son are playing with Pang Lampang. หาพลายฉลาดเจอแล้วมาแอบอยู่กับพังลำปางนี่เอง
Pang Huadee is looking for her son (Plai Chalad). พังหัวดีกำลังเดินตามหาลูกชาย(พลายฉลาด)ซึ่งไม่รู้ว่าหายไปเที่ยวที่ไหน
Our elephants :Pang Jarunee and Plai Suthin are walking around Sublangka forest. พังจารุณีและพลายสุทิน : พังจารุณีชอบพาพลายสุทินไปเที่ยวทั่วป่าซับลังกา

Sunday, June 28, 2009

Elephants in Sublangka Forest

Pang Duern leads her young children (Pang Dao, Pang Doreme and Seedor Doremon) go for a walk in Sublangka Wildlife Sanctuary. พังเดือนกำลังเดินนำกลุ่มช้าง(พังดาว พังโดเรมี สีดอโดเรมอน)เทียวเล่นในป่าซับลังกา

Plai Sila who is in the 3rd of 4th Stage of musth periods, his musth fluid comes out from his temple on his head and droozing down into his mouth and the elephant's behavior change toward being aggressive because of the musth fluid influence. อาการตกมันพลายศิลา : น้ำมันที่บริเวณขมับของพลายศิลาออกมาจนถึงปากและพลายศิลาได้กินน้ำมันเข้าไปทำให้มีอาการก้าวร้าวและดุร้าย

Pang Ploy, our elephant at Phu Phan Substation enjoys playing in the creek and she is happy with a lot of food in Phu Phan National Park, Sakon Nakorn. พังพลอยกินอาหารและลงเล่นน้ำในป่าภูพาน

Khun Veera Akraphutiporn, Vice President Corporate Affairs of Thai Namthip Ltd. and the party from Thai Namthip Co.,Ltd. visit Pang Sunee at camp 2, Mae Yao Reservoir. The elephant was released by Thai Namthip on February 8, 2007.

ทางบริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด นำโดยคุณวีระ อัครพุทธิพร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการองค์กรสัมพันธ์ และคณะ เดินทางมาเยี่ยมพังสุนีย์ ที่ทางบริษัทไทยน้ำทิพย์ได้ทำพิธีปล่อยเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2550 ที่บริเวณแคมป์ 2 อ่างเก็บน้ำแม่ยาว จังหวัดลำปาง

Pang Thongbai and Pang Boonmeenan went out of the forest to the villager's banana farm. As soon as our field staff was informed that they hurry to fetch elephants herd the deep forest.

พังทองใบ และพังบุญมีน่าน ได้ออกนอกพื้นที่เข้าไปในสวนกล้วยของชาวบ้านบริเวณหมู่บ้านห้วยเส้า ขณะนี้เจ้าหน้าที่ได้นำตัวพังทองใบและพังบุญมีน่านกลับเข้าไปในป่าตามเดิม

Wednesday, June 24, 2009

Eastern mole:ตัวตุ่น

(Our field staff found it in Doi Pha Maung forest เจ้าหน้าภาคสนามพบในป่าดอยผาเมือง)

ตุ่น Common name: Eastern mole

ชื่อวิทยาศาสตร์, Sciencetific name :Talpa micrura

Small and gray or brown, the Eastern mole has lovely velvety fur and a hairless tail. It can grow from about 4 to 7 inches long and lives in the moist sandy soil, very rarely seen above ground. The Eastern Mole has very thick claws for its size, that are helpful in its life burrowing below the ground. The Eastern Mole will spend most of it’s life beneath the surface of the earth.

Food : earthworms, larvae of various insects and other food prey

Mating takes place in spring time and about four weeks after mating the female will give birth to 3 to 5 offspring in an underground nest which she will line with fur, grass and dried out plant materials. It is far more common to see raised areas in the lawn than to see the actual Eastern Mole, and although they do do some damage to lawns, they also do a great deal of good by eating insects and other pests in the area. (http://www.itsnature.org/ground/mammals-land/eastern-mole/)

ตุ่นมีส่วนช่วยในการพรวนดิน ทำให้น้ำและอากาศในดินถ่ายเทได้ดี ตุ่น เป็นสัตว์สี่เท้าลักษณะคล้ายหนูนา ขาสั้น ลำตัวอ้วนและมีขนฟูกว่า ขนอ่อนนุ่มเหมือนผ้ากำมะหยี่ปกคลุมร่างกาย มีสีเทาดำ สีเหลือง หน้าทู่ มีหนวด มีหางเล็กสั้นประมาณ 1 นิ้ว เนื่องจากมีลำตัวที่อ้วนจ้ำม่ำ จึงทำให้มันเคลื่อนไหวช้า ไม่เปรียวอย่างหนู มีตาที่ดำสนิทและเล็กมาก ตุ่นจะขุดรูอยู่ในดิน โดยใช้เล็บเท้าที่แข็งแรงมากขุดดินให้เป็นโพรงอยู่ในรูใต้ดิน ใช้เท้าตะกุยดินส่งผ่านท้องไปด้านหลัง พอได้ดินมากแล้วจะม้วนตัวกลับเพื่อใช้ส่วนหัวดันกองดินขึ้นมาทิ้งที่ผิวดินเป็นกอง ๆ ปิดรูไว้ซึ่งเรียกว่า โขย จะทำโขยไว้หลาย ๆ แห่ง ห่างกันเป็นระยะ ๆ ใช้โพรงใต้ดินเป็นที่อยู่อาศัย และขุดรูเพื่อหาหัวไม้ รากไม้เป็นอาหาร ตุ่นออกลูกครั้งละประมาณ 3 - 8 ตัว เวลาอยู่ในรูจะอยู่ด้วยกันเป็นครอบครัว มันจะทำที่นอนที่ทำจากเศษหญ้านุ่ม ตุ่นจะหาอาหารโดยขุดอุโมงค์หรือรูเข้าไปยังแหล่งอาหารที่อยู่ใต้ดิน ไม่ขึ้นมาให้ผู้คนพบเห็นบนผิวดิน ภายในรูจะทำโพรงเป็นห้องเสบียงไว้เก็บอาหาร ในฤดูฝนซึ่งมีอาหารประเภทหัวที่อยู่ในดินมาก ช่วงนี้ประชากรตุ่นจึงมีมากเช่นกัน จะพบได้ทั่วไปตามป่ากลอย มันจ๊วก มันตีนช้าง มันกู้ มันแกว หัวบอนป่า บอนเบี้ยว หน่อไม้ที่อยู่ในดิน แห้วหมู เป็นต้น

Our field staff at Camp3 Lampang (Mae Poo Reservoir) plant many kind of vegetable around the camp. เจ้าหน้าที่ที่ประจำอยู่แคมป์ 3 (อ่างเก็บน้ำแม่ปู) ก็ช่วยกันปลูกพืชผักสวนครัวไว้ใกล้ๆแคมป์ เพื่อนำมาเป็นอาหาร
Beside restoring the roof, our field staff at Lampang Camp are mowing and cleaning around their camp. และช่วยกันทำความสะอาดแคมป์ 1 ให้สะอาดดูสวยงาม
New roofs made by our field staff.
เจ้าหน้าที่กำลังช่วยกันซ่อมแซมหลังคาห้องน้ำ และศาลา จนเสร็จเรียบร้อย

Toilets and Sala at Camp1 was roofed with vetiver grass and now it decomposed as usual, then our field staff have to restore its. เนื่องจากศาลา และหลังคาห้องน้ำของแคมป์ 1 พุพังลง ทางมูลนิธิฯ จึงได้ซ่อมแซมปรับปรุงใหม่

Tuesday, June 23, 2009

Pang Thongkam takes care Pang Narak closely. พังทองคำคอยดูแลพังน่ารักอย่างใกล้ชิด

As Pang Huadee comes down to drinking water in Lamsonthi Creek, she is looking for foods too. นอกจากจะลงกินน้ำในลำสนธิแล้วพังหัวดีก็ยังกินอาหารที่อยู่ใกล้ ๆ ในลำสนธิอีกด้วย

Pang Dao is sucking milk from her mother's breast. พังดาวกำลังกินนมแม่(พังเดือน)
Pol.Maj.Gen. Chookiat Prathipasen, Director and Vice-Secretary General of Elephant Reintroduction Foundation welcomes Khun Siroj Angsuwatthana at Elephant Reintroduction Foundation, Head office, Bangkok.
พล.ต.ต. ชูเกียรติ ประทีปะเสน รองเลขาธิการมูลนิธิคืนช้างสู่ธรรมชาติ ให้การต้อนรับ คุณศิโรช อังสุวัฒนะอดีตผู้บริหาร บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด ซึ่งมาเยี่ยมชมมูลนิธิฯ สำนักงานกรุงเทพฯ

Sunday, June 21, 2009

Pang Ploy is eating grasses in Phu Phan National Park. พังพลอยกำลังกินอาหารในป่าภูพาน
A foggy mountain in the morning at Phu Phan National Park, Sakon Nakorn Province. บรรยากาศยามเช้าที่ป่าภูพาน
Posted by Picasa

Saturday, June 20, 2009

Pol.Maj.Gen. Chookiat Prathipasen, Director and Vice-Secretary General of Elephant Reintroduction Foundation visits to observe the progress of assembly Sala at Doi Pha Maung Wildlife Sanctuary, Lampang Province on June 20, 2009.
พล.ต.ต. ชูเกียรติ ประทีปะเสน รองเลขาธิการมูลนิธิฯ ได้เข้าตรวจงานสร้างศาลาเอนกประสงค์ ที่เจ้าหน้าที่ของมูลนิธิฯกำลังดำเนินการก่อสร้างอยู่

Friday, June 19, 2009

Plai Chalard (Pang Huadee's son) sneak away from his mother. ตั้งแต่เริ่มโตเป็นหนุ่มพลายฉลาดไม่ค่อยอยู่กับแม่(พังหัวดี) ชอบหนีเที่ยวไกล ๆ
Pang Haudee is having a lot of food at Pa pond in Sublangka Wildlife Sanctuary. พังหัวดีกำลังกินอาหารบริเวณสระปาในป่าซับลังกา

Huai Pha moong Waterfall

Our field staff at Lampang Camp (Mr.Nirud Majai) found a beautiful waterfall at Doi Pha Maung Wildlife Sanctuary.

ขณะที่เจ้าหน้าที่ภาคสนาม(นายนิรุต มาใจ) ได้เข้าป่าติดตามช้าง ก็ได้พบกับน้ำตกห้วยผามุง ซึ่งมีลักษณะเป็นหน้าผามีน้ำไหลตกลงมาเป็นสายสวยงาม

After The Foundation has released Pang Nongnart in the forest for a while, now she is gain weight.

หลังจากที่ทางมูลนิธิฯ นำทดลองปล่อยพังนงนารถในป่า เค้าก็มีร่างกายที่อ้วนท้วนสมบูรณ์ขึ้นมาก

Plai Phalang and Plai Sumet are playing together, their adoptive mother (Pang Sawang) stands nearby to watch them.

พลายพลัง และพลายสุเมธ ชอบเล่นหยอกล้อกันเล่น โดยมีพังสว่างคอยดูอยู่ใกล้ๆ

Pang Sawang, Plai Phalang, and Plai Sumet live at the edge of Mae Yoa Reservoir. พังสว่าง พลายพลัง และพลายสุเมธ เดินเล่นและก็กินอาหารไปด้วยอยู่บริเวณขอบอ่างเก็บน้ำแม่ยาว จังหวัดลำปาง

Wednesday, June 17, 2009

Our field staff met a python in Sublangka Wildlife Sanctuary while they were tracking elephants. ติดตามพฤติกรรมช้างในป่าซับลังกา เจ้าหน้าที่ภาคสนามพบงูเหลือมในป่าจึงถ่ายภาพมาฝาก งูเหลือม (Reticulated Python) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูขนาดใหญ่ ลำตัวยาวเฉลี่ยประมาณ 1 - 5 เมตร จัดเป็นงูที่ยาวและใหญ่ที่สุดในโลก ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki

Pang Nimnual is having her foods in Phu Phan National Park, Sakon Nakorn Province.

พังนิ่มนวลกำลังกินอาหารในป่าภูพาน

Our field staff at Phu Phan Substation found a salt lick in Phu Phan National Park. โป่งธรรมชาติที่พบในป่าภูพาน